ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยทีมฟุตบอลชายร่วมเข้าแข่ง จัดการแข่งขันโดยฟีฟ่า (ฟีฟ่ายังคงเป็นผู้จัด ฟุตบอลโลกหญิงเช่นกัน) ฟุตบอลโลกเริ่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2473 ใน ฟุตบอลโลก 1930 และจัดต่อเนื่องมาทุก 4 ปี ยกเว้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (1942, 1946)
ภายหลังจากการแข่งขันรอบคัดเลือก ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายจะประกอบด้วยทีมชาติ 32 ทีม (เพิ่มจาก 24 ทีมเป็น 32 ทีมใน ฟุตบอลโลก 1998) ร่วมแข่งขันกันเป็นเวลาประมาณ 1 เดือน และได้ชื่อว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก โดยใน ฟุตบอลโลก 2002 มีสถิติผู้ชมประมาณ 1,100 ล้านคนทั่วโลก
เมื่อจบการแข่งขันจะมีการมอบรางวัลต่างๆ สำหรับนักฟุตบอลยอดเยี่ยม ดูได้ที่ รางวัลฟุตบอลโลก
สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งต่อไป ฟุตบอลโลก 2010 จะถูกจัดขึ้นที่ ประเทศแอฟริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2553 และฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล ในปี พ.ศ. 2557
ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยทีมฟุตบอลชายร่วมเข้าแข่ง จัดการแข่งขันโดยฟีฟ่า (ฟีฟ่ายังคงเป็นผู้จัด ฟุตบอลโลกหญิงเช่นกัน) ฟุตบอลโลกเริ่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2473 ใน ฟุตบอลโลก 1930 และจัดต่อเนื่องมาทุก 4 ปี ยกเว้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (1942, 1946)
ภาย หลังจากการแข่งขันรอบคัดเลือก ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายจะประกอบด้วยทีมชาติ 32 ทีม (เพิ่มจาก 24 ทีมเป็น 32 ทีมใน ฟุตบอลโลก 1998) ร่วมแข่งขันกันเป็นเวลาประมาณ 1 เดือน และได้ชื่อว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก โดยใน ฟุตบอลโลก 2002 มีสถิติผู้ชมประมาณ 1,100 ล้านคนทั่วโลก
เมื่อจบการแข่งขันจะมีการมอบรางวัลต่างๆ สำหรับนักฟุตบอลยอดเยี่ยม ดูได้ที่ รางวัลฟุตบอลโลก
สำหรับ การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งต่อไป ฟุตบอลโลก 2010 จะถูกจัดขึ้นที่ ประเทศแอฟริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2553 และฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล ในปี พ.ศ. 2557
ความสำเร็จแบ่งตามทวีป
ทวีป ผลงานที่ดีที่สุด
อเมริกาใต้ ชนะเลิศ 9 ครั้ง โดย บราซิล อาร์เจนตินา อุรุกวัย
ยุโรป ชนะเลิศ 9 ครั้ง โดย อิตาลี เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส
อเมริกาเหนือ รอบรองชนะเลิศ สหรัฐอเมริกา (1930)
เอเชีย รอบรองชนะเลิศ เกาหลีใต้ (2002)
แอฟริกา รอบก่อนรองชนะเลิศ แคเมอรูน (1990) และ ซีนีกัล (2002)
โอเชียเนีย รอบ 16 ทีมสุดท้าย ออสเตรเลีย (2006)
ทวีป ผลงานที่ดีที่สุด
อเมริกาใต้ ชนะเลิศ 9 ครั้ง โดย บราซิล อาร์เจนตินา อุรุกวัย
ยุโรป ชนะเลิศ 9 ครั้ง โดย อิตาลี เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส
อเมริกาเหนือ รอบรองชนะเลิศ สหรัฐอเมริกา (1930)
เอเชีย รอบรองชนะเลิศ เกาหลีใต้ (2002)
แอฟริกา รอบก่อนรองชนะเลิศ แคเมอรูน (1990) และ ซีนีกัล (2002)
โอเชียเนีย รอบ 16 ทีมสุดท้าย ออสเตรเลีย (2006)
สถิติสำคัญ
* ชัยชนะสูงสุด
o ฮังการี 9-0 เกาหลีใต้ (1954)
o ยูโกสลาเวีย 9-0 ซาอีร์ (1974)
o ฮังการี 10-1 เอลซัลวาดอร์ (1982)
* ชัยชนะสูงสุดในรอบคัดเลือก – ออสเตรเลีย 31-0 อเมริกันซามัว (รอบคัดเลือก ฟุตบอลโลก 2002)
* ผู้เล่นในฟุตบอลโลกสูงสุด – 5 ครั้ง – แอนโทนีโอ คาร์บาฮาล (เม็กซิโก, 1950-1966) และ โลทาร์ มัทเทอูส (เยอรมนี, 1982-1998)
* ผู้เล่นลงสนามในฟุตบอลโลกสูงสุด – 25 นัด – โลทาร์ มัทเทอูส (เยอรมนี)
* ผู้เล่นทำประตูสูงสุด – 15 ประตู – โรนัลโด (บราซิล 18 นัด 4 ฟุตบอลโลก)
* ผู้เล่นทำประตูเร็วสุด – 11 วินาที – ฮาคาน ชูเคอร์ (ตุรกี) นัดแข่งกับทีมชาติเกาหลีใต้ (2002)
* ผู้เล่นอายุน้อยสุดที่ทำประตูได้ – 17 ปี 239 วัน – เปเล่ (บราซิล) นัดแข่งกับ ทีมชาติเวลส์ (1958)
* ผู้เล่นอายุมากสุดที่ทำประตูได้ – 42 ปี 39 วัน – โรเจอร์ มิลลา (แคเมอรูน) นัดแข่งกับ ทีมชาติรัสเซีย (1994)
* นัดที่ใบเหลืองและใบแดงมากสุด – 16 ใบเหลือง 4 ใบแดง – โปรตุเกส-เนเธอร์แลนด์ (2006) กรรมการ วาเลนติน วาเลนติโนวิช อิวานอฟ ชาวรัสเซีย
o ฮังการี 9-0 เกาหลีใต้ (1954)
o ยูโกสลาเวีย 9-0 ซาอีร์ (1974)
o ฮังการี 10-1 เอลซัลวาดอร์ (1982)
* ชัยชนะสูงสุดในรอบคัดเลือก – ออสเตรเลีย 31-0 อเมริกันซามัว (รอบคัดเลือก ฟุตบอลโลก 2002)
* ผู้เล่นในฟุตบอลโลกสูงสุด – 5 ครั้ง – แอนโทนีโอ คาร์บาฮาล (เม็กซิโก, 1950-1966) และ โลทาร์ มัทเทอูส (เยอรมนี, 1982-1998)
* ผู้เล่นลงสนามในฟุตบอลโลกสูงสุด – 25 นัด – โลทาร์ มัทเทอูส (เยอรมนี)
* ผู้เล่นทำประตูสูงสุด – 15 ประตู – โรนัลโด (บราซิล 18 นัด 4 ฟุตบอลโลก)
* ผู้เล่นทำประตูเร็วสุด – 11 วินาที – ฮาคาน ชูเคอร์ (ตุรกี) นัดแข่งกับทีมชาติเกาหลีใต้ (2002)
* ผู้เล่นอายุน้อยสุดที่ทำประตูได้ – 17 ปี 239 วัน – เปเล่ (บราซิล) นัดแข่งกับ ทีมชาติเวลส์ (1958)
* ผู้เล่นอายุมากสุดที่ทำประตูได้ – 42 ปี 39 วัน – โรเจอร์ มิลลา (แคเมอรูน) นัดแข่งกับ ทีมชาติรัสเซีย (1994)
* นัดที่ใบเหลืองและใบแดงมากสุด – 16 ใบเหลือง 4 ใบแดง – โปรตุเกส-เนเธอร์แลนด์ (2006) กรรมการ วาเลนติน วาเลนติโนวิช อิวานอฟ ชาวรัสเซีย
ผู้เล่นทำประตูสูงสุดในฟุตบอลโลก
อันดับ ผู้เล่น, ทีม ประตูที่ได้ ทัวร์นาเมนต์ / เกมที่ลงเล่น
1 โรนัลโด้, บราซิล 15 4 ครั้ง 1994 1998 2002 2006 (18 นัด, ไม่ได้ลงเล่นใน 1994)
2 เกิร์ด มุลเลอร์, เยอรมนี 14 2 ครั้ง 1970 1974 (14 นัด)
3 ชุสต์ ฟงแตน, ฝรั่งเศส 13 1 ครั้ง 1958 (6 นัด)
4 เปเล่, บราซิล 12 4 ครั้ง 1958 1962 1966 1970 (14 นัด)
5 ซานดอร์ โคซ์ชิส, ฮังการี 11 1 ครั้ง 1954 (5 นัด)
5 เยอร์เกน คลินส์มัน, เยอรมนี 11 3 ครั้ง 1990 1994 1998 (17 นัด)
อันดับ ผู้เล่น, ทีม ประตูที่ได้ ทัวร์นาเมนต์ / เกมที่ลงเล่น
1 โรนัลโด้, บราซิล 15 4 ครั้ง 1994 1998 2002 2006 (18 นัด, ไม่ได้ลงเล่นใน 1994)
2 เกิร์ด มุลเลอร์, เยอรมนี 14 2 ครั้ง 1970 1974 (14 นัด)
3 ชุสต์ ฟงแตน, ฝรั่งเศส 13 1 ครั้ง 1958 (6 นัด)
4 เปเล่, บราซิล 12 4 ครั้ง 1958 1962 1966 1970 (14 นัด)
5 ซานดอร์ โคซ์ชิส, ฮังการี 11 1 ครั้ง 1954 (5 นัด)
5 เยอร์เกน คลินส์มัน, เยอรมนี 11 3 ครั้ง 1990 1994 1998 (17 นัด)
อ้างอิง
1. ^ ในปี ค.ศ. 1930 การแข่งขันฟุตบอลโลก ไม่มีการจัดแข่งขันชิงที่ 3 โดยทีมชาติสหรัฐอเมริกา และยูโกสลาเวีย แพ้ในรอบรองชนะเลิศ
2. ^ ไม่มีนัดชิงชนะเลิศในฟุตบอลโลก 1950 เพราะการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศใช้แบบ 4 ทีม แต่ชัยชนะของอุรุกวัยต่อบราซิล 2-1 เป็นการตัดสินเพราะแต้มเพียงพอต่อการเป็นแชมป์ อันดับในรอบชิงชนะเลิศ: (1) อุรุกวัย (2) บราซิล (3) สวีเดน (4) สเปน
2. ^ ไม่มีนัดชิงชนะเลิศในฟุตบอลโลก 1950 เพราะการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศใช้แบบ 4 ทีม แต่ชัยชนะของอุรุกวัยต่อบราซิล 2-1 เป็นการตัดสินเพราะแต้มเพียงพอต่อการเป็นแชมป์ อันดับในรอบชิงชนะเลิศ: (1) อุรุกวัย (2) บราซิล (3) สวีเดน (4) สเปน
>> ฟุตบอลโลก 2014 / เพลงฟุตบอลโลก /ประวัติฟุตบอลโลก / บอลโลก 2014 / ผลบอลโลก 2014 /ตารางคะแนนบอลโลก 2014
ที่มา : th.wikipedia.org
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น