วันอังคารที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2557

ความหมายของ "การออกแบบผลิตภัณฑ์"

การออกแบบผลิตภัณฑ์  หมายถึง การออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ เพื่อนำมาใช้สอยในชีวิตประจำวัน โดยเน้นการผลิตจำนวนมาก ในรูปสินค้า เพื่อให้ผ่านไปยังผู้บริโภค[consumer]ในวงกว้าง โดยที่รูปแบบและคุณภาพของผลิตภัณฑ์จะเป็นปัจจัยสำคัญ ชักจูงผู้บริโภคให้เกิดความกระหายที่จะจ่ายเงินซ้อผลิตภัณฑ์นั้น

จากข้อสรุปข้างต้น การออกแบบผลิตภัณฑ์จึงเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายด้านซึ่งควรจะได้พิจารณาคือ

1.การออกแบบที่สัมพันธ์กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์

2.การออกแบบที่สัมพันธ์กับวัสดุและกระบวนการผลิต

3. การออกแบบที่สัมพันธ์กับความต้องการของผู้บริโภค

4.การออกแบบที่มีคุณค่าทางความงาม

การออกแบบที่สัมพันธ์กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์

การออกแบบผลิตภัณฑ์ ควรต้องพิจารณาถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นประการแรกเพื่อจะได้ออกแบบให้ได้ความคงทนถาวรมากน้อย หรือให้เหมาะสมกับการใช้เพียงชั่วคราวของผลิตภัณฑ์นั้น เพราะการออกแบบจะต้องคำนึงถึงวัสดุและเวลาการผลิตไปพร้อมกัน ถ้าออกแบบโดยไม่ได้ศึกษาถึงคุณภาพตามเป้าหมายของการผลิตแล้ว ก็ไม่สามารถออกแบบที่เหมาะสมได้

การออกแบบที่สัมพันธ์กับวัสดุและกระบวนการผลิต

ในที่นี้ใคร่ขอย้ำทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยตรง ด้วยการผลิตสิ่งของเครื่องใช้หรือผลิตภัณฑ์ กำลังการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จำนวนมาก มีความจำเป็นยิ่ง เครื่องมือที่ใช้ในการผลิตเช่น เครื่องจักรกล หรือเครื่องทุ่นแรงอื่นๆ ย่อมเหมาะสมกับวัสดุอย่างหนึ่ง ทำให้การออกแบบผลิตภัณฑ์ต้องพิจารณาถึงวัสดุและกระบวนการผลิตไปพร้อมกัน

การออกแบบที่สัมพันธ์กับหน้าที่ใช้สอย

หน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้น เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ออกแบบจะต้องพิจารณา แม้การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีเครื่องกลไกซับซ้อน ผู้ออกแบบจะไม่รู้ระบบการทำงานของผลิตภัณฑ์นั้นทั้งหมด ก็ควรจะรู้การทำงานของผลิตภัณฑ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ หรือแม้แต่การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเครื่องกลไก ผู้ออกแบบจะต้องทำความเข้าใจกับหน้าที่ใช้สอยเป็นประการสำคัญด้วย

การออกแบบที่สัมพันธ์กับความต้องการของผู้บริโภค

อาจจะพิจารณาได้ 2 แง่คือความต้องการที่สอดคล้องกับชีวิตความเป็นอยู่ กับการสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ

ความต้องการที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่เป็นความต้องการที่เหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรม รสนิยม และการใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆความต้องการของผู้บริโภคยังเกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจโดยตรงอีกด้วย ถ้าสภาพสังคมที่กำลังเศรษฐกิจตกต่ำการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง ราคาสูง สินค้าฟุ่มเฟือย หรือเน้นความงามทางการออกแบบมากจนผลิตภัณฑ์นั้นราคาสูง การออกแบบเช่นนี้ อาจจะไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคได้

การออกแบบที่มีคุณค่าทางความงาม

เพื่อให้ผู้ออกแบบตระหนักถึงความงามที่เด่นชัดร่วมสมัย และมีความคิดสร้างสรรค์แทรกอยู่ในการออกแบบแต่ละชิ้น ความประณีตบรรจงในการออกแบบหรือในผลิตภัณฑ์เป็นคุณค่าส่วนหนึ่งของความงามอีกด้วย 

  (ที่มา:http://www.vcharkarn.com/vcafe/120488)

การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบเพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ์ 
ชนิดต่าง ๆงานออกแบบสาขานี้ มีขอบเขตกว้างขวางมากที่สุด และแบ่งออกได้มากมาย 
หลาย ๆ ลักษณะ นักออกแบบรับผิดชอบเกี่ยวกับประโยชน์ใช้สอยและความสวยงามของ 
ผลิตภัณฑ์  งานออกแบบประเภทนี้ได้แก่ 
- งานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ 
- งานออกแบบครุภัณฑ์ 
- งานออกแบบเครื่องสุขภัณฑ์ 
- งานออกแบบเครื่องใช้สอยต่างๆ 
- งานออกแบบเครื่องประดับ  อัญมณี 
- งานออกแบบเครื่องแต่งกาย
- งานออกแบบภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์ 
- งานออกแบบผลิตเครื่องมือต่าง ๆ   ฯลฯ


การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบผลิตภัณฑ์ (product design) คือการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ เพื่อนำมาใช้สอยในชีวิตประจำวัน โดยเน้นการผลิตจำนวนมาก ในรูปสินค้า เพื่อให้ผ่านไปยังผู้บริโภค(consumer)ในวงกว้าง โดยที่รูปแบบและคุณภาพของผลิตภัณฑ์จะเป็นปัจจัยสำคัญ ชักจูงผู้บริโภคให้เกิดความกระหายที่จะจ่ายเงินซ้อผลิตภัณฑ์นั้น

จากข้อสรุปข้างต้น การออกแบบผลิตภัณฑ์จึงเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายด้านซึ่งควรจะได้พิจารณาคือ

1.การออกแบบที่สัมพันธ์กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์

2.การออกแบบที่สัมพันธ์กับวัสดุและกระบวนการผลิต

3. การออกแบบที่สัมพันธ์กับความต้องการของผู้บริโภค

4.การออกแบบที่มีคุณค่าทางความงาม

การออกแบบที่สัมพันธ์กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์

การออกแบบผลิตภัณฑ์ ควรต้องพิจารณาถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นประการแรกเพื่อจะได้ออกแบบให้ได้ความคงทนถาวรมากน้อย หรือให้เหมาะสมกับการใช้เพียงชั่วคราวของผลิตภัณฑ์นั้น เพราะการออกแบบจะต้องคำนึงถึงวัสดุและเวลาการผลิตไปพร้อมกัน ถ้าออกแบบโดยไม่ได้ศึกษาถึงคุณภาพตามเป้าหมายของการผลิตแล้ว ก็ไม่สามารถออกแบบที่เหมาะสมได้

การออกแบบที่สัมพันธ์กับวัสดุและกระบวนการผลิต

ในที่นี้ใคร่ขอย้ำทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยตรง ด้วยการผลิตสิ่งของเครื่องใช้หรือผลิตภัณฑ์ กำลังการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จำนวนมาก มีความจำเป็นยิ่ง เครื่องมือที่ใช้ในการผลิตเช่น เครื่องจักรกล หรือเครื่องทุ่นแรงอื่นๆ ย่อมเหมาะสมกับวัสดุอย่างหนึ่ง ทำให้การออกแบบผลิตภัณฑ์ต้องพิจารณาถึงวัสดุและกระบวนการผลิตไปพร้อมกัน

การออกแบบที่สัมพันธ์กับหน้าที่ใช้สอย

หน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้น เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ออกแบบจะต้องพิจารณา แม้การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีเครื่องกลไกซับซ้อน ผู้ออกแบบจะไม่รู้ระบบการทำงานของผลิตภัณฑ์นั้นทั้งหมด ก็ควรจะรู้การทำงานของผลิตภัณฑ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ หรือแม้แต่การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเครื่องกลไก ผู้ออกแบบจะต้องทำความเข้าใจกับหน้าที่ใช้สอยเป็นประการสำคัญด้วย

การออกแบบที่สัมพันธ์กับความต้องการของผู้บริโภค

อาจจะพิจารณาได้ 2 แง่คือความต้องการที่สอดคล้องกับชีวิตความเป็นอยู่ กับการสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ

ความต้องการที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่เป็นความต้องการที่เหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรม รสนิยม และการใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆความต้องการของผู้บริโภคยังเกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจโดยตรงอีกด้วย ถ้าสภาพสังคมที่กำลังเศรษฐกิจตกต่ำการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง ราคาสูง สินค้าฟุ่มเฟือย หรือเน้นความงามทางการออกแบบมากจนผลิตภัณฑ์นั้นราคาสูง การออกแบบเช่นนี้ อาจจะไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคได้

การออกแบบที่มีคุณค่าทางความงาม

เพื่อให้ผู้ออกแบบตระหนักถึงความงามที่เด่นชัดร่วมสมัย และมีความคิดสร้างสรรค์แทรกอยู่ในการออกแบบแต่ละชิ้น ความประณีตบรรจงในการออกแบบหรือในผลิตภัณฑ์เป็นคุณค่าส่วนหนึ่ง

  สรุป ตามความเห็นของข้าพเจ้า การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบที่มีคุณค่าทางความงาม

เพื่อให้ผู้ออกแบบตระหนักถึงความงามที่เด่นชัดร่วมสมัย และมีความคิดสร้างสรรค์แทรกอยู่ในการออกแบบแต่ละชิ้น ความประณีตบรรจงในการออกแบบหรือในผลิตภัณฑ์เป็นคุณค่าส่วนหนึ่งของความงาม

วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2557

ประวัติบอลโลก


ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยทีมฟุตบอลชายร่วมเข้าแข่ง จัดการแข่งขันโดยฟีฟ่า (ฟีฟ่ายังคงเป็นผู้จัด ฟุตบอลโลกหญิงเช่นกัน) ฟุตบอลโลกเริ่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2473 ใน ฟุตบอลโลก 1930 และจัดต่อเนื่องมาทุก 4 ปี ยกเว้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (1942, 1946)
ภายหลังจากการแข่งขันรอบคัดเลือก ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายจะประกอบด้วยทีมชาติ 32 ทีม (เพิ่มจาก 24 ทีมเป็น 32 ทีมใน ฟุตบอลโลก 1998) ร่วมแข่งขันกันเป็นเวลาประมาณ 1 เดือน และได้ชื่อว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก โดยใน ฟุตบอลโลก 2002 มีสถิติผู้ชมประมาณ 1,100 ล้านคนทั่วโลก
เมื่อจบการแข่งขันจะมีการมอบรางวัลต่างๆ สำหรับนักฟุตบอลยอดเยี่ยม ดูได้ที่ รางวัลฟุตบอลโลก
สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งต่อไป ฟุตบอลโลก 2010 จะถูกจัดขึ้นที่ ประเทศแอฟริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2553 และฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล ในปี พ.ศ. 2557
ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยทีมฟุตบอลชายร่วมเข้าแข่ง จัดการแข่งขันโดยฟีฟ่า (ฟีฟ่ายังคงเป็นผู้จัด ฟุตบอลโลกหญิงเช่นกัน) ฟุตบอลโลกเริ่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2473 ใน ฟุตบอลโลก 1930 และจัดต่อเนื่องมาทุก 4 ปี ยกเว้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (1942, 1946)
ภาย หลังจากการแข่งขันรอบคัดเลือก ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายจะประกอบด้วยทีมชาติ 32 ทีม (เพิ่มจาก 24 ทีมเป็น 32 ทีมใน ฟุตบอลโลก 1998) ร่วมแข่งขันกันเป็นเวลาประมาณ 1 เดือน และได้ชื่อว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก โดยใน ฟุตบอลโลก 2002 มีสถิติผู้ชมประมาณ 1,100 ล้านคนทั่วโลก
เมื่อจบการแข่งขันจะมีการมอบรางวัลต่างๆ สำหรับนักฟุตบอลยอดเยี่ยม ดูได้ที่ รางวัลฟุตบอลโลก
สำหรับ การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งต่อไป ฟุตบอลโลก 2010 จะถูกจัดขึ้นที่ ประเทศแอฟริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2553 และฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล ในปี พ.ศ. 2557
ความสำเร็จแบ่งตามทวีป
ทวีป ผลงานที่ดีที่สุด
อเมริกาใต้ ชนะเลิศ 9 ครั้ง โดย บราซิล อาร์เจนตินา อุรุกวัย
ยุโรป ชนะเลิศ 9 ครั้ง โดย อิตาลี เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส
อเมริกาเหนือ รอบรองชนะเลิศ สหรัฐอเมริกา (1930)
เอเชีย รอบรองชนะเลิศ เกาหลีใต้ (2002)
แอฟริกา รอบก่อนรองชนะเลิศ แคเมอรูน (1990) และ ซีนีกัล (2002)
โอเชียเนีย รอบ 16 ทีมสุดท้าย ออสเตรเลีย (2006)
สถิติสำคัญ
* ชัยชนะสูงสุด
o ฮังการี 9-0 เกาหลีใต้ (1954)
o ยูโกสลาเวีย 9-0 ซาอีร์ (1974)
o ฮังการี 10-1 เอลซัลวาดอร์ (1982)
* ชัยชนะสูงสุดในรอบคัดเลือก – ออสเตรเลีย 31-0 อเมริกันซามัว (รอบคัดเลือก ฟุตบอลโลก 2002)
* ผู้เล่นในฟุตบอลโลกสูงสุด – 5 ครั้ง – แอนโทนีโอ คาร์บาฮาล (เม็กซิโก, 1950-1966) และ โลทาร์ มัทเทอูส (เยอรมนี, 1982-1998)
* ผู้เล่นลงสนามในฟุตบอลโลกสูงสุด – 25 นัด – โลทาร์ มัทเทอูส (เยอรมนี)
* ผู้เล่นทำประตูสูงสุด – 15 ประตู – โรนัลโด (บราซิล 18 นัด 4 ฟุตบอลโลก)
* ผู้เล่นทำประตูเร็วสุด – 11 วินาที – ฮาคาน ชูเคอร์ (ตุรกี) นัดแข่งกับทีมชาติเกาหลีใต้ (2002)
* ผู้เล่นอายุน้อยสุดที่ทำประตูได้ – 17 ปี 239 วัน – เปเล่ (บราซิล) นัดแข่งกับ ทีมชาติเวลส์ (1958)
* ผู้เล่นอายุมากสุดที่ทำประตูได้ – 42 ปี 39 วัน – โรเจอร์ มิลลา (แคเมอรูน) นัดแข่งกับ ทีมชาติรัสเซีย (1994)
* นัดที่ใบเหลืองและใบแดงมากสุด – 16 ใบเหลือง 4 ใบแดง – โปรตุเกส-เนเธอร์แลนด์ (2006) กรรมการ วาเลนติน วาเลนติโนวิช อิวานอฟ ชาวรัสเซีย
ผู้เล่นทำประตูสูงสุดในฟุตบอลโลก
อันดับ ผู้เล่น, ทีม ประตูที่ได้ ทัวร์นาเมนต์ / เกมที่ลงเล่น
1 โรนัลโด้, บราซิล 15 4 ครั้ง 1994 1998 2002 2006 (18 นัด, ไม่ได้ลงเล่นใน 1994)
2 เกิร์ด มุลเลอร์, เยอรมนี 14 2 ครั้ง 1970 1974 (14 นัด)
3 ชุสต์ ฟงแตน, ฝรั่งเศส 13 1 ครั้ง 1958 (6 นัด)
4 เปเล่, บราซิล 12 4 ครั้ง 1958 1962 1966 1970 (14 นัด)
5 ซานดอร์ โคซ์ชิส, ฮังการี 11 1 ครั้ง 1954 (5 นัด)
5 เยอร์เกน คลินส์มัน, เยอรมนี 11 3 ครั้ง 1990 1994 1998 (17 นัด)
อ้างอิง
1. ^ ในปี ค.ศ. 1930 การแข่งขันฟุตบอลโลก ไม่มีการจัดแข่งขันชิงที่ 3 โดยทีมชาติสหรัฐอเมริกา และยูโกสลาเวีย แพ้ในรอบรองชนะเลิศ
2. ^ ไม่มีนัดชิงชนะเลิศในฟุตบอลโลก 1950 เพราะการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศใช้แบบ 4 ทีม แต่ชัยชนะของอุรุกวัยต่อบราซิล 2-1 เป็นการตัดสินเพราะแต้มเพียงพอต่อการเป็นแชมป์ อันดับในรอบชิงชนะเลิศ: (1) อุรุกวัย (2) บราซิล (3) สวีเดน (4) สเปน
ที่มา  : th.wikipedia.org

My profile

 อัครพล มาตยะวงค์  ชื่อเล่น บ๊อบบี้   เกิดวันที่ 26 ม.ค 2544 จบจาก  รร.ลำปางวิทยา  กำลังศึกษาอยู่ที่ รร. ลำปางกัลยาณี    ม.1/2  กีฬาที่ชอบคือ ฟุตบอล  อาหารที่ชอบคือ ขนมจีน